บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555
- อาจารย์ให้วาดภาพอะไรก็ได้ใส่กระดาษแผ่นเล็ก (ภาพที่แทนตัวเรา)
อาจารย์กำหนดเกณฑ์ให้3เกณฑ์คือ มาก่อนเที่ยง มาเที่ยงตรง และมาหลังเที่ยง
ให้ทุกคนนำภาพของตนเองไปติดตามเวลาที่ตนเองมาเรียน
- อาจารย์ให้วาดภาพอะไรก็ได้ใส่กระดาษแผ่นเล็ก (ภาพที่แทนตัวเรา)
อาจารย์กำหนดเกณฑ์ให้3เกณฑ์คือ มาก่อนเที่ยง มาเที่ยงตรง และมาหลังเที่ยง
ให้ทุกคนนำภาพของตนเองไปติดตามเวลาที่ตนเองมาเรียน
เด็กเกิดการเรียนรู้
- เด็กเรียนรู้เรื่องของเวลา ก่อน-หลัง (ก่อนเที่ยง-เที่ยงตรง-หลังเที่ยง)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการจัดหมวดหมู่ (ครูจะต้องกำหนดเกณฑ์)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการนับ (นับจำนวนของคนที่มาในแต่ละวิชา)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการเปรียบเทียบปริมาณ (เปรียบเทียบโดยการนำภาพมาเรียงแถวกันเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้เห็นความ แตกต่างอย่างชัดเจน)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของเวลา ก่อน-หลัง (ก่อนเที่ยง-เที่ยงตรง-หลังเที่ยง)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการจัดหมวดหมู่ (ครูจะต้องกำหนดเกณฑ์)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการนับ (นับจำนวนของคนที่มาในแต่ละวิชา)
- เด็กเรียนรู้เรื่องของการเปรียบเทียบปริมาณ (เปรียบเทียบโดยการนำภาพมาเรียงแถวกันเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้เห็นความ แตกต่างอย่างชัดเจน)
* ถ้าเด็กสามารถบอกได้ว่าตัวเลขแทนจำนวนเท่าไหร่
แสดงให้เห็นว่าเด็กสามารถให้เหตุผลได้
คณิตศาสตร์สามารถบูรณาการผ่านการใช้ชีวิตประจำวัน
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน เกมการศึกษา
(เกมจับคู่ , เกมเรียงลำดับ , เกมจัดหมวดหมู่ , เกมจิ๊กซอว์ , เกมโดมิโน , เกมความสัมพันธ์สองแกน)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
(กำหนดรูปทรงเรขาคณิตให้เด็กวาดภาพต่อเติมตามจินตนาการ)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสรี
(เตรียมวัสดุอุปกรณ์ไว้สำหรับให้เด็กได้วัดขนาด ชั่งน้ำหนัก หรือสังเกตการเปลี่ยนแปลง)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
(เปิดเพลงที่เนื้อหาเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และให้เด็กทำท่าทางประกอบเพลง)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมกลางแจ้ง
(ให้เด็กเล่นเกมในรูปแบบต่างๆ ครูมีการกำหนดเกณฑ์ในการเล่น เช่น ให้เด็กจับกลุ่มจำนวนตามที่ครูบอก เป็นต้น )
คณิตศาสตร์สามารถบูรณาการผ่านการใช้ชีวิตประจำวัน
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน เกมการศึกษา
(เกมจับคู่ , เกมเรียงลำดับ , เกมจัดหมวดหมู่ , เกมจิ๊กซอว์ , เกมโดมิโน , เกมความสัมพันธ์สองแกน)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
(กำหนดรูปทรงเรขาคณิตให้เด็กวาดภาพต่อเติมตามจินตนาการ)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสรี
(เตรียมวัสดุอุปกรณ์ไว้สำหรับให้เด็กได้วัดขนาด ชั่งน้ำหนัก หรือสังเกตการเปลี่ยนแปลง)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
(เปิดเพลงที่เนื้อหาเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และให้เด็กทำท่าทางประกอบเพลง)
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- คณิตศาสตร์บูรณาการผ่าน กิจกรรมกลางแจ้ง
(ให้เด็กเล่นเกมในรูปแบบต่างๆ ครูมีการกำหนดเกณฑ์ในการเล่น เช่น ให้เด็กจับกลุ่มจำนวนตามที่ครูบอก เป็นต้น )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น